พญาแสนภูเป็นผู้นครล้านนาองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์มังรายสืบต่อจากพระราชบิดาพญาไชยสงคราม หลังจากที่พระองค์ขึ้นครองราชย์แล้วนั้นพระองค์ก็ได้เปลี่ยน้มืองหลวงอีกครั้งจากที่พระราชบิดาของพระองค์เปลี่ยนจากเชียงใหม่เป็งเชียงราย ซึ่งพญาแสนภูนั้นไม่โปรดเมืองเชียงรายจึงย้ายราชธานีไปอยู่ที่เชียงแสนแทน และประทับอยู่ที่นั่นจนสิ้นพระชนม์
พญาแสนภูเป็นพระราชโอรสองค์โตของพญาไชยสงครามกษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งล้านนานคร โดยพระองค์มีพระอนุชา 2 พระองค์นั่นก็คือ ท้าวน้ำท่วมและท้าวงั่ว
ก่อนขึ้นครองราชย์
ในช่วงก่อนขึ้นครองราชย์นั้นพญาไชยสงครามได้แต่งตั้งพระราชพระองค์ใหญ่ ท้าวแสนภูขึ้นเป็นอุปราชของล้านนาและส่งให้ไปปกครองเมืองเชียงใหม่ซึ่งตอนนั้นเป็นเมืองลูกหลวง แต่ปกครองไดไมานานขุนเครือผู้มีศักดิ์เป็นน้าได้เข้ายึดเมืองเชียงใหม่ ส่วนท้าวแสนภูและครอบครัวได้อพยพไปยังเมืองเชียงราย ซึ่งขุนเครือที่ยึดเมืองเอาไว้ก็มิสามารถยึดเมืองเอาไว้ได้นานเพราะท้าวน้ำท่วมพระอนุชาของท้าวแสนภูได้ไปตีเมืองเชียงใหม่คืน และมีชัยเหนือทัพของขุนเครือและสามารถจับกุมตัวขุนเครือได้ในที่สุด ซึ่งด้วยความดีความชอบของท้าวน้ำท่วมก็ได้ทำให้พระองค์ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่แต่ว่าหลังจากนั้นไม่นานเหล่าขุนนางในราชสำนักก็ได้บอกพญาไชยสงครามว่าท้าวน้ำท่วมจะคิดขบฏ จึงนำตัวท้าวน้ำท่วมมาไต่สวนแต่ก็ไม่พบพิรุธ แต่พระองคืก็คลางแคลงใจอยู่จึงสั่งเด้งพระองค์ไปปกครองเมืองเชียงตุงแทนแลัท้าวแสนภูผู้เป็นอุปราชก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่ต่ออีกครั้ง
ขึ้นครองราชย์
หลังจากที่พญาไชยสงครามพระราชบิดาสวรรคตในปี พ.ศ.1868 ท้าวแสนภูผู้เป็นทั้งอุปราชและพระราชโอรสของพญาไชยสงครามได้ขึ้นครองราชย์ต่อเป็นพญาแสนภูกษัตริย์แห่งล้านนานครองค์ที่ 3
โดยไม่นานหลังจากที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ได้ไม่นาน พระองคืก็โปรดให้ท้าวคำฟูครองเมืองเชียงใหม่และแต่งตั้งยศอุปราชเอาไว้ให้ แล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สั่งให้สร้างเมืองใหม่บริเวณเมืองเงินยางเดิม ซึ่งเมืองแห่งนั้นสร้างเสร็จราวปีพ.ศ.1870 โดยพญาแสนภูได้ให้ชื่อเมืองแห่งนี้ว่า เชียงแสน และใช้เป็นาชธานีแทนเมืองเชียงรายในขณะนั้น ซึ่งการสร้างเมืองนี้ก็เพื่อป้องกันข้าศึกด้านเหนือ เพราะเชียงแสนตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและสามารถใช้แม่น้ำโขงเป็นคูเมืองตามธรรมชาติได้ ตัวเมืองมีกำแพงกว้าง 700 วา ยาว 1,500 วา มีป้อมรายล้อมเมือง 8 แห่งและอีกเหตุผลนึงก็คือพระองค์ไม่โปรดเมืองเชียงรายนั่นเอง
พญาแสนภูสวรรคตที่เมืองเชียงแสนแห่งนี้หลังจากเสวยราชย์เพียงแค่ 9 ปีเท่านั้น พระองค์สวรรคตเมื่อ พ.ศ.1877 ท้าวคำฟูพระราชโอรสที่มีสถานะเป็นอุปราชได้ขึ้นคริองราชย์ต่อเป้นพญาคำฟูกษัตริย์แห่งล้านนาคนต่อไป
อ้างอิง
พญาแสนภู(2561). https://th.wikipedia.org
พญาแสนภู. http://www.thamnaai.com
ชาวเชียงแสน แห่เชิญองค์พญาแสนภู ขึ้นแท่นประทับ(2559). https://www.thairath.co.th
พญาแสนภูเป็นพระราชโอรสองค์โตของพญาไชยสงครามกษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งล้านนานคร โดยพระองค์มีพระอนุชา 2 พระองค์นั่นก็คือ ท้าวน้ำท่วมและท้าวงั่ว
ก่อนขึ้นครองราชย์
ในช่วงก่อนขึ้นครองราชย์นั้นพญาไชยสงครามได้แต่งตั้งพระราชพระองค์ใหญ่ ท้าวแสนภูขึ้นเป็นอุปราชของล้านนาและส่งให้ไปปกครองเมืองเชียงใหม่ซึ่งตอนนั้นเป็นเมืองลูกหลวง แต่ปกครองไดไมานานขุนเครือผู้มีศักดิ์เป็นน้าได้เข้ายึดเมืองเชียงใหม่ ส่วนท้าวแสนภูและครอบครัวได้อพยพไปยังเมืองเชียงราย ซึ่งขุนเครือที่ยึดเมืองเอาไว้ก็มิสามารถยึดเมืองเอาไว้ได้นานเพราะท้าวน้ำท่วมพระอนุชาของท้าวแสนภูได้ไปตีเมืองเชียงใหม่คืน และมีชัยเหนือทัพของขุนเครือและสามารถจับกุมตัวขุนเครือได้ในที่สุด ซึ่งด้วยความดีความชอบของท้าวน้ำท่วมก็ได้ทำให้พระองค์ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่แต่ว่าหลังจากนั้นไม่นานเหล่าขุนนางในราชสำนักก็ได้บอกพญาไชยสงครามว่าท้าวน้ำท่วมจะคิดขบฏ จึงนำตัวท้าวน้ำท่วมมาไต่สวนแต่ก็ไม่พบพิรุธ แต่พระองคืก็คลางแคลงใจอยู่จึงสั่งเด้งพระองค์ไปปกครองเมืองเชียงตุงแทนแลัท้าวแสนภูผู้เป็นอุปราชก็ได้ปกครองเมืองเชียงใหม่ต่ออีกครั้ง
ขึ้นครองราชย์
หลังจากที่พญาไชยสงครามพระราชบิดาสวรรคตในปี พ.ศ.1868 ท้าวแสนภูผู้เป็นทั้งอุปราชและพระราชโอรสของพญาไชยสงครามได้ขึ้นครองราชย์ต่อเป็นพญาแสนภูกษัตริย์แห่งล้านนานครองค์ที่ 3
โดยไม่นานหลังจากที่พระองค์ขึ้นครองราชย์ได้ไม่นาน พระองคืก็โปรดให้ท้าวคำฟูครองเมืองเชียงใหม่และแต่งตั้งยศอุปราชเอาไว้ให้ แล้วจากนั้นพระองค์ก็ได้สั่งให้สร้างเมืองใหม่บริเวณเมืองเงินยางเดิม ซึ่งเมืองแห่งนั้นสร้างเสร็จราวปีพ.ศ.1870 โดยพญาแสนภูได้ให้ชื่อเมืองแห่งนี้ว่า เชียงแสน และใช้เป็นาชธานีแทนเมืองเชียงรายในขณะนั้น ซึ่งการสร้างเมืองนี้ก็เพื่อป้องกันข้าศึกด้านเหนือ เพราะเชียงแสนตั้งอยู่ริมแม่น้ำโขงและสามารถใช้แม่น้ำโขงเป็นคูเมืองตามธรรมชาติได้ ตัวเมืองมีกำแพงกว้าง 700 วา ยาว 1,500 วา มีป้อมรายล้อมเมือง 8 แห่งและอีกเหตุผลนึงก็คือพระองค์ไม่โปรดเมืองเชียงรายนั่นเอง
พญาแสนภูสวรรคตที่เมืองเชียงแสนแห่งนี้หลังจากเสวยราชย์เพียงแค่ 9 ปีเท่านั้น พระองค์สวรรคตเมื่อ พ.ศ.1877 ท้าวคำฟูพระราชโอรสที่มีสถานะเป็นอุปราชได้ขึ้นคริองราชย์ต่อเป้นพญาคำฟูกษัตริย์แห่งล้านนาคนต่อไป
พระบรมราชานุสาวรีย์พญาแสนภู ภายในวัดพระธาตุเจดีย์หลวงที่เชียงแสน |
อ้างอิง
พญาแสนภู(2561). https://th.wikipedia.org
พญาแสนภู. http://www.thamnaai.com
ชาวเชียงแสน แห่เชิญองค์พญาแสนภู ขึ้นแท่นประทับ(2559). https://www.thairath.co.th
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น